[ใหม่] ขายกระดาษสา กระดาษสาทำมือ ขายส่ง ปลีก
644 สัปดาห์ ที่แล้ว
- ลำพูน - คนดู 1,757
รายละเอียด
ขายกระดาษสา กระดาษสาทำมือ ขายส่ง ปลีก
มุมกระดาษทุกขนาด สั่ง 10 แถม 2ดอกกระดาษสาทุกขนาด สั่ง 10 แถม 2
ขายปลีก และส่ง รับทำตามสั่งมุมกระดาษทุกขนาด สั่ง 10 แถม 2
ดอกกระดาษสาทุกขนาด สั่ง 10 แถม 2
ขายปลีก และส่ง รับทำตามสั่งขายกระดาษสา กระดาษสาทำมือ ขายส่ง ปลีก
กระดาษ A 4 ใช้แล้วหรือหนังสือพิมพ์เก่าๆ
- ตะแกงลวดถี่ๆหาซื้อได้ตามร้านขายต้นไม้
- ถังน้ำหรือชามอ่าง 2 ใบ
-ไม้พาย หรือเครื่องปั่นน้ำผลไม้
- ถุงพลาสติก
... -
วิธีทำ
1. แช่หนังสือพิมพ์เก่าหรือกระดาษ A 4ค้างคืนไว้ เทน้ำทิ้งในวันรุ่งขึ้น ทำกระดาษให้ยุ่ยจนเป็นเยื่อกระดาษเล็กๆ เทน้ำผสมลงไป (อย่าลืมทำความสะอาดเครื่องปั่น) หลังจากนั้นถ้าต้องการกระดาษสีให้ผสมสีฝุ่นที่ต้องการลงไปด้วย
2. ใส่เยื่อกระดาษลงในถังน้ำ หรือชามอ่างอีกใบหนึ่ง เติมน้ำลงไปจำนวนเท่าๆกัน กวนผสมเข้าด้วยกัน ใช้ตะแกรงช้อนกระดาษ พยายามให้เยื่อกระดาษทั้งหมดกระจายบนตะแกรงอย่างสม่ำเสมอ
3. ทำซ้ำเช่นเดียวกันนี้จนเยื่อกระดาษที่เหลือหมด เมื่อเสร็จแล้วใช้ถุงพลาสติกวางทับด้านบนสุด แล้ววางของหนักๆทับอีกที
5. ปล่อยทิ้งไว้รอจนเยื่อกระดาษกลายเป็นแผ่นแล้วค่อยๆลอกแผ่นกระดาษออก
จากผ้า้้ วางกระดาษเหล่านี้ไว้บนกระดาษหนังสือพิมพ์ จนกระทั่งแห้งสนิทจึงนำกระดาษไปใช้ได้
6. เราก็ได้กระดาษสาจากวัสดุเหลือใช้แล้วและลดโลกร้อนด้วยดูเพิ่มเติม
ขายกระดาษสา กระดาษสาทำมือ ขายส่ง ปลีก- ตะแกงลวดถี่ๆหาซื้อได้ตามร้านขายต้นไม้
- ถังน้ำหรือชามอ่าง 2 ใบ
-ไม้พาย หรือเครื่องปั่นน้ำผลไม้
- ถุงพลาสติก
... -
วิธีทำ
1. แช่หนังสือพิมพ์เก่าหรือกระดาษ A 4ค้างคืนไว้ เทน้ำทิ้งในวันรุ่งขึ้น ทำกระดาษให้ยุ่ยจนเป็นเยื่อกระดาษเล็กๆ เทน้ำผสมลงไป (อย่าลืมทำความสะอาดเครื่องปั่น) หลังจากนั้นถ้าต้องการกระดาษสีให้ผสมสีฝุ่นที่ต้องการลงไปด้วย
2. ใส่เยื่อกระดาษลงในถังน้ำ หรือชามอ่างอีกใบหนึ่ง เติมน้ำลงไปจำนวนเท่าๆกัน กวนผสมเข้าด้วยกัน ใช้ตะแกรงช้อนกระดาษ พยายามให้เยื่อกระดาษทั้งหมดกระจายบนตะแกรงอย่างสม่ำเสมอ
3. ทำซ้ำเช่นเดียวกันนี้จนเยื่อกระดาษที่เหลือหมด เมื่อเสร็จแล้วใช้ถุงพลาสติกวางทับด้านบนสุด แล้ววางของหนักๆทับอีกที
5. ปล่อยทิ้งไว้รอจนเยื่อกระดาษกลายเป็นแผ่นแล้วค่อยๆลอกแผ่นกระดาษออก
จากผ้า้้ วางกระดาษเหล่านี้ไว้บนกระดาษหนังสือพิมพ์ จนกระทั่งแห้งสนิทจึงนำกระดาษไปใช้ได้
6. เราก็ได้กระดาษสาจากวัสดุเหลือใช้แล้วและลดโลกร้อนด้วยดูเพิ่มเติม
ขั้นตอนวิธการผลิตกระดาษต้นกล้วย
การเตรียมวัตถุดิบ
1. ต้นต้นกล้วยที่ตัดผลแล้ว จำนวน 100 กิโลกรัม
2. หั่นหรือสับให้เป็นชิ้นเล็กยาวประมาณ 5-10 เซนติเมตร
3. ล้างนำให้สะอาด แยกเศษวัสดุอื่นที่ไม่ใช่เนื้อเยื้อออกเช่นเศษดิน เศษใบไม้
... ขั้นตอนการต้ม
1. นำเยื่อกล้วยที่เตรียมไว้ตามน้ำหนักใส่ในภาชนะต้ม
2. ใส่น้ำลงในหม้อต้ม 1 ใน 4 ของหม้อต้ม
3. ใช้เตาต้ม ซึ่งสามารถเลือกเตาต้มได้หลายวิถีเช่นเต่าต้มที่ใช้ฟืน หรือ แก็สหุงต้ม
4. ต้มเส้นใย ให้สุก ประมาณ 2 ชั่วโมง
ขั้นตอนการปั่นเส้นใย
1. ล้างเส้นใยต้นกล้วยด้วยน้ำให้สะอาด นำเข้าเครื่องปั่นเส้นใยขนาด 50 – 100 กิโลกรัม/ถัง เพื่อให้เส้นใยแตกตัว นุ่ม เส้นใยไม่เกาะติดกันเป็นก้อน ประมาณ 10-20 นาที
2. นำไปบีบอัดหรือทำให้แห้ง
3. ฟอกขาวด้วย สารฟอกขาว 5-7 เปอร์เซ็นต์
4. ล้างน้ำสะอาดส่งย้อมสี ตามความต้องการ
ขั้นตอนการฟอกย้อม
นำเยื่อกล้วยฟอกย้อมในสารฟอกย้อม มีอยู่ด้วยกันหลายชนิด ที่นิยมใช้กันคือ คลอรีน และไฮโดรเจน เปอร์อ็อกไซด์ 5-10 เปอร์เซ็น ล้างน้ำให้สะอาด นำเส้นใยไปย้อมสีตามต้องการสีย้อมเป็นสีเคมี ให้สีสรรที่สดใส
สีย้อมสมุนไพรเป็นสีธรรมชาติที่นำมาต้มย้อมเช่นสีจากครั่ง สีจากเปลือกไม้มะเกลือหรือไม้ขนุน
ขั้นตอนการกำหนดน้ำหนักกระดาษ
ก่อนที่จะนำเยื่อกระดาษไปแตะแผ่น จะต้องกำหนดน้ำหนักของเยื่อกล้วยโดยการส่วนใหญ่มีมาตราฐาน ที่กำหนดน้ำหนักไว้ 2 ลักษณะคือ
1. ตามความต้องการของตลาด ซึ่งกำหนดไว้ที่ กระดาษ 1 แผ่นขนาด 55 X 80 เซนติเมตร มีน้ำหนักโดยเฉลี่ยที่ 300-400 กรัม / แผ่น
2. ตามความต้องการในการมช้งานตามความหนาเป็นพิเศษเช่นเพื่อใช้ในการทำบรรจุภัณฑ์ประเภทถุงกระดาษบรรจุภัณฑ์
3. หรือตามแบบที่กำหนดเป็นอย่างอื่น
ขั้นตอนเตรียมแตะแผ่น
1. นำเส้นใยที่ได้ปั้นก้อน ชั่งน้ำหนัก ให้ได้น้ำหนักก้อนละ 300 – 400 กรัม
2. นำเส้นใยกล้วยที่ชั่งน้ำหนักแล้วมาแตะในเนรมิต เกลี่ยเส้นใยให้กระจายหนาบางเท่าๆกัน (ความชำนาญเกิดจากการที่ได้ทำและฝึกฝนจนมีประสบการณ์)
เครื่องมือและอุปกรณ์
1. นำเฟรมสำหรับทำแผ่นกระดาษ ขนาด 55 X 80 เซนติเมตร จำนวน 100-200 เนรมิต/คน เป็นขนาดมาตราฐานเดียวกับกระดาษสา กระดาษสับปะรด
2. กระบะน้ำสำหรับแตะแผ่นกระดาษขนาดกว้าง X ยาว X สูง ( 60 X 90 X 10เซนติเมตร )
3. โต๊ะทำงานสำหรับแตะแผ่น 1 ตัว
4. ตะกล้าใส่เยื่อ 10 ใบ
5. บ่อล้างเส้นใยกล้วย ขนาด 100 เมตรX50 เซนติเมตร จำนวน 5 บ่อ
6. ถังน้ำสำหรับเติมน้ำ 1 ถัง
7. เครื่องสับเยื่อ ขนาด 3 แรงม้า
8. เครื่องปั่นเส้นใยขนาด 2 แรงม้า 1 เฟส
9. กระดาษที่ได้จากการแตะแผ่นใช้เวลาในการทำให้แห้งโดยการตากแดด หรือ อบด้วยความร้อนจากพลังงานความร้อนอื่นๆ
10. เก็บกระดาษทำความสะอาด คัดกระดาษที่ใช้ไม่ได้หรือไม่สมบูรณ์แยกออก เป็นสีธรรมชาติ สีต่างๆ ให้เรียบร้อย สำหรับกระดาษในส่วนที่ไม่สามารถส่งจำหน่ายเป็นแผ่นได้ควรเครียมงานรองรับเพื่อทำผลิตภัณฑ์ดังต่อไปนี้
น้ำจากการต้มเยื่อส่วนมากจะมีสารเคมีที่ตกค้าง การนำน้ำที่มีสารเคมีที่ตกค้างมาผ่านขบวนการกรองแล้วปรับสภาพน้ำให้เป็นกลางโดยการเติมกรดลงไปให้เหมาะสม ปล่อยให้ซึมลงใต้ดินช่วยทำให้สิ่งแวดล้อมไม่เสียหาย หรือนำเอากลับมาใช้เพื่อเป็นการลดการใช้น้ำใต้ผิวดิน อีกวิธีหนึ่งอีกด้วย
ขายกระดาษสา กระดาษสาทำมือ ขายส่ง ปลีกการเตรียมวัตถุดิบ
1. ต้นต้นกล้วยที่ตัดผลแล้ว จำนวน 100 กิโลกรัม
2. หั่นหรือสับให้เป็นชิ้นเล็กยาวประมาณ 5-10 เซนติเมตร
3. ล้างนำให้สะอาด แยกเศษวัสดุอื่นที่ไม่ใช่เนื้อเยื้อออกเช่นเศษดิน เศษใบไม้
... ขั้นตอนการต้ม
1. นำเยื่อกล้วยที่เตรียมไว้ตามน้ำหนักใส่ในภาชนะต้ม
2. ใส่น้ำลงในหม้อต้ม 1 ใน 4 ของหม้อต้ม
3. ใช้เตาต้ม ซึ่งสามารถเลือกเตาต้มได้หลายวิถีเช่นเต่าต้มที่ใช้ฟืน หรือ แก็สหุงต้ม
4. ต้มเส้นใย ให้สุก ประมาณ 2 ชั่วโมง
ขั้นตอนการปั่นเส้นใย
1. ล้างเส้นใยต้นกล้วยด้วยน้ำให้สะอาด นำเข้าเครื่องปั่นเส้นใยขนาด 50 – 100 กิโลกรัม/ถัง เพื่อให้เส้นใยแตกตัว นุ่ม เส้นใยไม่เกาะติดกันเป็นก้อน ประมาณ 10-20 นาที
2. นำไปบีบอัดหรือทำให้แห้ง
3. ฟอกขาวด้วย สารฟอกขาว 5-7 เปอร์เซ็นต์
4. ล้างน้ำสะอาดส่งย้อมสี ตามความต้องการ
ขั้นตอนการฟอกย้อม
นำเยื่อกล้วยฟอกย้อมในสารฟอกย้อม มีอยู่ด้วยกันหลายชนิด ที่นิยมใช้กันคือ คลอรีน และไฮโดรเจน เปอร์อ็อกไซด์ 5-10 เปอร์เซ็น ล้างน้ำให้สะอาด นำเส้นใยไปย้อมสีตามต้องการสีย้อมเป็นสีเคมี ให้สีสรรที่สดใส
สีย้อมสมุนไพรเป็นสีธรรมชาติที่นำมาต้มย้อมเช่นสีจากครั่ง สีจากเปลือกไม้มะเกลือหรือไม้ขนุน
ขั้นตอนการกำหนดน้ำหนักกระดาษ
ก่อนที่จะนำเยื่อกระดาษไปแตะแผ่น จะต้องกำหนดน้ำหนักของเยื่อกล้วยโดยการส่วนใหญ่มีมาตราฐาน ที่กำหนดน้ำหนักไว้ 2 ลักษณะคือ
1. ตามความต้องการของตลาด ซึ่งกำหนดไว้ที่ กระดาษ 1 แผ่นขนาด 55 X 80 เซนติเมตร มีน้ำหนักโดยเฉลี่ยที่ 300-400 กรัม / แผ่น
2. ตามความต้องการในการมช้งานตามความหนาเป็นพิเศษเช่นเพื่อใช้ในการทำบรรจุภัณฑ์ประเภทถุงกระดาษบรรจุภัณฑ์
3. หรือตามแบบที่กำหนดเป็นอย่างอื่น
ขั้นตอนเตรียมแตะแผ่น
1. นำเส้นใยที่ได้ปั้นก้อน ชั่งน้ำหนัก ให้ได้น้ำหนักก้อนละ 300 – 400 กรัม
2. นำเส้นใยกล้วยที่ชั่งน้ำหนักแล้วมาแตะในเนรมิต เกลี่ยเส้นใยให้กระจายหนาบางเท่าๆกัน (ความชำนาญเกิดจากการที่ได้ทำและฝึกฝนจนมีประสบการณ์)
เครื่องมือและอุปกรณ์
1. นำเฟรมสำหรับทำแผ่นกระดาษ ขนาด 55 X 80 เซนติเมตร จำนวน 100-200 เนรมิต/คน เป็นขนาดมาตราฐานเดียวกับกระดาษสา กระดาษสับปะรด
2. กระบะน้ำสำหรับแตะแผ่นกระดาษขนาดกว้าง X ยาว X สูง ( 60 X 90 X 10เซนติเมตร )
3. โต๊ะทำงานสำหรับแตะแผ่น 1 ตัว
4. ตะกล้าใส่เยื่อ 10 ใบ
5. บ่อล้างเส้นใยกล้วย ขนาด 100 เมตรX50 เซนติเมตร จำนวน 5 บ่อ
6. ถังน้ำสำหรับเติมน้ำ 1 ถัง
7. เครื่องสับเยื่อ ขนาด 3 แรงม้า
8. เครื่องปั่นเส้นใยขนาด 2 แรงม้า 1 เฟส
9. กระดาษที่ได้จากการแตะแผ่นใช้เวลาในการทำให้แห้งโดยการตากแดด หรือ อบด้วยความร้อนจากพลังงานความร้อนอื่นๆ
10. เก็บกระดาษทำความสะอาด คัดกระดาษที่ใช้ไม่ได้หรือไม่สมบูรณ์แยกออก เป็นสีธรรมชาติ สีต่างๆ ให้เรียบร้อย สำหรับกระดาษในส่วนที่ไม่สามารถส่งจำหน่ายเป็นแผ่นได้ควรเครียมงานรองรับเพื่อทำผลิตภัณฑ์ดังต่อไปนี้
น้ำจากการต้มเยื่อส่วนมากจะมีสารเคมีที่ตกค้าง การนำน้ำที่มีสารเคมีที่ตกค้างมาผ่านขบวนการกรองแล้วปรับสภาพน้ำให้เป็นกลางโดยการเติมกรดลงไปให้เหมาะสม ปล่อยให้ซึมลงใต้ดินช่วยทำให้สิ่งแวดล้อมไม่เสียหาย หรือนำเอากลับมาใช้เพื่อเป็นการลดการใช้น้ำใต้ผิวดิน อีกวิธีหนึ่งอีกด้วย
ขั้นตอนการทำกระดาษสาด้วยมือ
การเตรียมวัตถุดิบ ได้แก่ การคัดเลือกวัตถุดิบ การตัด การแช่น้ำ การต้ม และการล้าง
1. การทำให้เป็นเยื่อ
2. การทำเป็นแผ่นกระดาษ
3. การลอกแผ่นกระดาษและตกแต่งเพิ่มเติมโดยสอดใส้ใบไม้และดอกไม้แห้ง
... ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมวัตถุดิบ
คัดเลือกเปลือกปอสาที่อ่อนและแก่แยกจากกัน นำไปแช่น้ำประมาณ 3 ชั่วโมงขึ้นไป แต่ไม่ควรเกิน 24 ชั่วโมง การแช่น้ำจะช่วยให้เปลือกปอสาอ่อนตัว จากนั้นนำไปใส่ภาชนะต้ม ใส่โซดาไฟ หรือน้ำด่างจากขี้เถ้า เพื่อช่วยให้โครงสร้างของเปลือกปอสาเปื่อย และแยกจากกันเร็วขึ้น ถ้าต้มปอสาอ่อนใช้โซดาไฟน้อย ต้มเปลือกแก่ ต้องใช้มากขึ้น การต้มแต่ละครั้งใช้โซดาไฟ ประมาณ 10-15% ของน้ำหนัก ถ้าใช้มากไปจะทำให้เยื่อถูกทำลายมากในระหว่างต้ม ต้มนานประมาณ 2-3 ชั่วโมง เมื่อต้มเสร็จแล้วนำปอสาล้างน้ำจนหมดด่าง
ขั้นตอนที่ 2 การทำให้เป็นเยื่อ มี 2 วิธี ได้แก่
• การทุบด้วยมือ
• การใช้เครื่องปั่น
การทุบด้วยมือต้องใช้เวลานาน ปาสาหนัก 2 กก. ใช้เวลาทุบนานประมาณ 5 ชั่วโมง ส่วนการใช้เครื่องตีเยื่อใช้เวลาประมาณ 35 นาที
จากนั้นนำไปฟอกเยื่อกระดาษสาทั่วไปฟอกไม่ขาวนัก แต่ถ้าต้องการให้กระดาษสาสีขาวมาก ๆ ก็ใช้ผงฟอกสีเข้าช่วย ได้แก่ Sodium hypoochloride หรือ Calcium hypochloride ประมาณ 1 : 10 โดยน้ำหนักผสมในเครื่องตีเยื่อ ฟอกนานประมาณ 35 นาที ถ้าไม่มีเครื่องตีเยื่อ ก็ใช้น้ำยาฟอกเข้มข้น 15 กรัมต่อน้ำ 1 ลิตร แช่เยื่อลงในน้ำยาฟอกนานประมาณ 12 ชั่วโมง นำเยื่อไปล้างน้ำจนหมดกลิ่นน้ำยาแล้ว จะนำเยื่อไปย้อมสีตามต้องการ จากนั้นนำเยื่อเตรียมไว้สำหรับทำแผ่นกระดาษต่อไป
ขั้นตอนที่ 3 การทำเป็นแผ่นกระดาษ
นำเยื่อปอสาใส่ในอ่างหรือภาชนะที่เหมาะสม ใส่น้ำให้มีระดับพอเหมาะแล้วใช้ไม้พายคนเยื่อในอ่างน้ำให้ทั่ว เพื่อให้เยื่อลอยตัวและกระจายออกจากกันอย่างสม่ำเสมอ จากนั้นนำแม่พิมพ์สำหรับทำแผ่นกระดาษมาช้อนเยื่อต่อไป ซึ่งมีการทำแผ่นได้ 2 วิธีคือ
1. แบบตัก ใช้แม่พิมพ์ซึ่งมีลักษณะเป็นตะแกรงไนล่อนขนาดกว้าง 50 ซม. ยาว 60 ซม. (ขนาดตะแกรงขึ้นอยู่กับขนาดกระดาษที่ต้องการ) ช้อนตักเยื่อเข้าหาตัวยกตะแกรงขึ้นตรง ๆ แล้วเทน้ำออกไปทางด้านหน้าโดยเร็ว จะช่วยให้กระดาษมีความสม่ำเสมอ
2. แบบแตะ มักใช้ตะแกรงที่ทำจากผ้าใยบัวหรือผ้ามุ้ง ซึ่งมีเนื้อละเอียด และใช้วิธีชั่งน้ำหนักของเยื่อ เป็นตัวกำหนดความหนาของแผ่นกระดาษ นำเยื่อใส่ในอ่างน้ำใช้มือแตะเกลี่ยกระจายเยื่อบนแม่พิมพ์ให้สม่ำเสมอ
ขั้นตอนที่ 4 การลอกแผ่นกระดาษ
นำตะแกรงไปตากแดดประมาณ 1-3 ชั่วโมง กระดาษสาจะแห้งติดกันเป็นแผ่น จึงลอกกระดาษสาออกจากแม่พิมพ์ เปลือกปอสาหนัก 1 กก. สามารถทำกระดาษสาได้ประมาณ 10 แผ่น
กระดาษสาที่ได้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง มีการดัดแปลงมาใช้ทำสิ่งของใช้ต่าง ๆ มากมาย แต่เดิมส่วนใหญ่ใช้ทำร่ม ว่าว กระดาษห่อของ กระดาษแบบเสื้อ กระดาษที่ใช้เขียนพุทธประวัติ คัมภีร์ เป็นต้น ปัจจุบันนำมาใช้อย่างกว้างขวาง เช่น สมุดจดที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ กระดาษเขียนจดหมายพร้อมซองบัตรอวยพรต่าง ๆ ดอกไม้ประดิษฐ์ตกแต่งเชือกกระดาษสา โคมไฟ ภาพวาด เสื้อผ้าชุดวิวาห์ ชุดผ่าตัด กระดาษเช็ดมือ กระดาษชำระใช้ซับเลือด กระดาษห่อของขวัญ กระดาษห่อเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ ก่อนนำไปฆ่าเชื้อโรค ฯลฯ ทำให้กระดาษสาเป็นที่รู้จัก และได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางมากขึ้นในปัจจุบันและลดโลกร้อนด้วยจร้าดูเพิ่มเติม
การเตรียมวัตถุดิบ ได้แก่ การคัดเลือกวัตถุดิบ การตัด การแช่น้ำ การต้ม และการล้าง
1. การทำให้เป็นเยื่อ
2. การทำเป็นแผ่นกระดาษ
3. การลอกแผ่นกระดาษและตกแต่งเพิ่มเติมโดยสอดใส้ใบไม้และดอกไม้แห้ง
... ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมวัตถุดิบ
คัดเลือกเปลือกปอสาที่อ่อนและแก่แยกจากกัน นำไปแช่น้ำประมาณ 3 ชั่วโมงขึ้นไป แต่ไม่ควรเกิน 24 ชั่วโมง การแช่น้ำจะช่วยให้เปลือกปอสาอ่อนตัว จากนั้นนำไปใส่ภาชนะต้ม ใส่โซดาไฟ หรือน้ำด่างจากขี้เถ้า เพื่อช่วยให้โครงสร้างของเปลือกปอสาเปื่อย และแยกจากกันเร็วขึ้น ถ้าต้มปอสาอ่อนใช้โซดาไฟน้อย ต้มเปลือกแก่ ต้องใช้มากขึ้น การต้มแต่ละครั้งใช้โซดาไฟ ประมาณ 10-15% ของน้ำหนัก ถ้าใช้มากไปจะทำให้เยื่อถูกทำลายมากในระหว่างต้ม ต้มนานประมาณ 2-3 ชั่วโมง เมื่อต้มเสร็จแล้วนำปอสาล้างน้ำจนหมดด่าง
ขั้นตอนที่ 2 การทำให้เป็นเยื่อ มี 2 วิธี ได้แก่
• การทุบด้วยมือ
• การใช้เครื่องปั่น
การทุบด้วยมือต้องใช้เวลานาน ปาสาหนัก 2 กก. ใช้เวลาทุบนานประมาณ 5 ชั่วโมง ส่วนการใช้เครื่องตีเยื่อใช้เวลาประมาณ 35 นาที
จากนั้นนำไปฟอกเยื่อกระดาษสาทั่วไปฟอกไม่ขาวนัก แต่ถ้าต้องการให้กระดาษสาสีขาวมาก ๆ ก็ใช้ผงฟอกสีเข้าช่วย ได้แก่ Sodium hypoochloride หรือ Calcium hypochloride ประมาณ 1 : 10 โดยน้ำหนักผสมในเครื่องตีเยื่อ ฟอกนานประมาณ 35 นาที ถ้าไม่มีเครื่องตีเยื่อ ก็ใช้น้ำยาฟอกเข้มข้น 15 กรัมต่อน้ำ 1 ลิตร แช่เยื่อลงในน้ำยาฟอกนานประมาณ 12 ชั่วโมง นำเยื่อไปล้างน้ำจนหมดกลิ่นน้ำยาแล้ว จะนำเยื่อไปย้อมสีตามต้องการ จากนั้นนำเยื่อเตรียมไว้สำหรับทำแผ่นกระดาษต่อไป
ขั้นตอนที่ 3 การทำเป็นแผ่นกระดาษ
นำเยื่อปอสาใส่ในอ่างหรือภาชนะที่เหมาะสม ใส่น้ำให้มีระดับพอเหมาะแล้วใช้ไม้พายคนเยื่อในอ่างน้ำให้ทั่ว เพื่อให้เยื่อลอยตัวและกระจายออกจากกันอย่างสม่ำเสมอ จากนั้นนำแม่พิมพ์สำหรับทำแผ่นกระดาษมาช้อนเยื่อต่อไป ซึ่งมีการทำแผ่นได้ 2 วิธีคือ
1. แบบตัก ใช้แม่พิมพ์ซึ่งมีลักษณะเป็นตะแกรงไนล่อนขนาดกว้าง 50 ซม. ยาว 60 ซม. (ขนาดตะแกรงขึ้นอยู่กับขนาดกระดาษที่ต้องการ) ช้อนตักเยื่อเข้าหาตัวยกตะแกรงขึ้นตรง ๆ แล้วเทน้ำออกไปทางด้านหน้าโดยเร็ว จะช่วยให้กระดาษมีความสม่ำเสมอ
2. แบบแตะ มักใช้ตะแกรงที่ทำจากผ้าใยบัวหรือผ้ามุ้ง ซึ่งมีเนื้อละเอียด และใช้วิธีชั่งน้ำหนักของเยื่อ เป็นตัวกำหนดความหนาของแผ่นกระดาษ นำเยื่อใส่ในอ่างน้ำใช้มือแตะเกลี่ยกระจายเยื่อบนแม่พิมพ์ให้สม่ำเสมอ
ขั้นตอนที่ 4 การลอกแผ่นกระดาษ
นำตะแกรงไปตากแดดประมาณ 1-3 ชั่วโมง กระดาษสาจะแห้งติดกันเป็นแผ่น จึงลอกกระดาษสาออกจากแม่พิมพ์ เปลือกปอสาหนัก 1 กก. สามารถทำกระดาษสาได้ประมาณ 10 แผ่น
กระดาษสาที่ได้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง มีการดัดแปลงมาใช้ทำสิ่งของใช้ต่าง ๆ มากมาย แต่เดิมส่วนใหญ่ใช้ทำร่ม ว่าว กระดาษห่อของ กระดาษแบบเสื้อ กระดาษที่ใช้เขียนพุทธประวัติ คัมภีร์ เป็นต้น ปัจจุบันนำมาใช้อย่างกว้างขวาง เช่น สมุดจดที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ กระดาษเขียนจดหมายพร้อมซองบัตรอวยพรต่าง ๆ ดอกไม้ประดิษฐ์ตกแต่งเชือกกระดาษสา โคมไฟ ภาพวาด เสื้อผ้าชุดวิวาห์ ชุดผ่าตัด กระดาษเช็ดมือ กระดาษชำระใช้ซับเลือด กระดาษห่อของขวัญ กระดาษห่อเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ ก่อนนำไปฆ่าเชื้อโรค ฯลฯ ทำให้กระดาษสาเป็นที่รู้จัก และได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางมากขึ้นในปัจจุบันและลดโลกร้อนด้วยจร้าดูเพิ่มเติม