[มือสอง] วีซ่าติดตามคู่สมรส Spouse UK Visa คู่ชีวิตที่ไม่ได้แต่งงาน Unmarried Partner หรือCivil Partner(เกย์)

462 สัปดาห์ ที่แล้ว - กรุงเทพมหานคร - คนดู 1,418

50,000 ฿

  • วีซ่าติดตามคู่สมรส Spouse UK Visa คู่ชีวิตที่ไม่ได้แต่งงาน Unmarried Partner หรือCivil Partner(เกย์) รูปที่ 1
  • วีซ่าติดตามคู่สมรส Spouse UK Visa คู่ชีวิตที่ไม่ได้แต่งงาน Unmarried Partner หรือCivil Partner(เกย์) รูปที่ 2
  • วีซ่าติดตามคู่สมรส Spouse UK Visa คู่ชีวิตที่ไม่ได้แต่งงาน Unmarried Partner หรือCivil Partner(เกย์) รูปที่ 3
  • วีซ่าติดตามคู่สมรส Spouse UK Visa คู่ชีวิตที่ไม่ได้แต่งงาน Unmarried Partner หรือCivil Partner(เกย์) รูปที่ 4
  • วีซ่าติดตามคู่สมรส Spouse UK Visa คู่ชีวิตที่ไม่ได้แต่งงาน Unmarried Partner หรือCivil Partner(เกย์) รูปที่ 5
  • วีซ่าติดตามคู่สมรส Spouse UK Visa คู่ชีวิตที่ไม่ได้แต่งงาน Unmarried Partner หรือCivil Partner(เกย์) รูปที่ 6
รายละเอียด

คุณจะสามารถเปลี่ยนจากวีซ่าประเภทอื่นมาเป็นวีซ่าติดตามคู่สมรส Spouse Visa คู่ชีวิตที่ไม่ได้แต่งงาน Unmarried Partner หรือCivil Partner(เกย์)*ได้หรือไม่

*เกย์ ใช้ได้กับทั้งชายและหญิงและเป็นคำที่สุภาพค่ะ ในการจดทะเบียนของเกย์ที่อังกฤษUK จะเรียกว่า Civil Partner

ขอเรียกรวมๆ ว่า วีซ่าติดตามคู่สมรส Spouse Visa ซึ่งวีซ่านี้ใช้ขอเพื่อติดตามคู่สมรสมาอยู่ที่อังกฤษ UK

บทความนี้เกี่ยวกับ คุณสมบัติของผู้ที่มีสิทธิ์ที่จะขอวีซ่าติดตามคู่สมรส คู่ชีวิตที่ไม่ได้แต่งงานและคู่ชีวิตเพศเดียวกัน(เกย์) ที่เป็นชาวบริติช(อังกฤษ เวลส์ สก็อตแลนด์และนอร์ธเทิร์นไอร์แลนด์)

บทความนี้เขียนขึ้นเพื่อ ให้ผู้ที่กำลังจะขอวีซ่าติดตามคู่สมรส(Spouse Visa) จากประเทศไทยและที่อยู่ในอังกฤษ UK เพื่อได้ตรวจสอบว่าคุณสามารถสลับจากวีซ่าที่ถืออยู่ เช่น วีซ่านักเรียน วีซ่าท่องเที่ยว วีซ่าท่องเที่ยวเพื่อแต่งงาน ได้หรือไม่ ทั้งนี้เพราะหากคุณขอวีซ่าผิดประเภทหรือมีคุณสมบัติไม่ครบคุณอาจถูกปฏิเสธวีซ่าและจะไม่ได้รับค่าธรรมเนียมคืน

คุณสามารถเปลี่ยนจากการถือวีซ่าประเภทอื่นมาเป็นวีซ่าติดตามคู่สมรสหรือ Civil Partner ได้หากคุณ

1.พำนักอยู่ในอังกฤษ UK ด้วยวีซ่าแต่งงาน คู่หมั้นทั้งต่างเพศและเกย์ คู่ชีวิตที่ไม่ได้แต่งงาน ภายใต้ Tier 1 และคู่หมั้นหรือคู่ชีวิตของคุณยังเป็นคนเดิมกับตอนที่คุณได้มาที่อังกฤษ UK ด้วยวีซ่าประเภทนั้น

2. คุณมาพำนักในอังกฤษ UK ด้วยวีซ่าประเภทอื่น เช่น ในฐานะนักเรียน และคุณได้รับวีซ่าให้อยู่ได้ในอังกฤษรวมทั้งสิ้นมากกว่า 6 เดือน เช่น เคยได้วีซ่านักเรียน 3 เดือน จากนั้นก็ 5 เดือน รวมทั้งสิ้น 8 เดือน เป็นต้น (ผู้ที่อยู่เกินวีซ่าแล้วทำเรื่องขอต่อวีซ่า)

คุณไม่สามารถเปลี่ยนวีซ่า switch ได้ หาก

*คุณอยู่เกินกว่าเวลาที่ได้ในวีซ่า

* จดทะเบียนสมรสหลักจากที่มีการตัดสินให้คุณถูกส่งตัว deport

* คุณมาด้วยวีซ่าประเภทท่องเที่ยว (มีคำว่า Visit ตามหลังประเภทวีซ่าที่คุณได้ เช่น General Visit, Family Visit, Visitor to get married เป็นต้น) หากมาด้วยวีซ่าประเภทท่องเที่ยว Visit 6 เดือน คุณต้องกลับไปขอวีซ่าติดตามคู่สมรสยังประเทศตามพาสปอร์ตของคุณ

สำคัญ รายละเอียดที่ต้องมีในเอกสารทางการเงินของคู่หมั้นชาวบริติช Every personal bank or building society statement should clearly show:your name or your sponsor's name, the account number, the date of the statement, the financial institution's name and logo, transactions covering the recent period. เอกสารเกี่ยวกับ Personal Bank หรือ Building Society นั้นต้องระบุชื่อของแฟนคุณ หมายเลขบัญชี วันเดือนปีของสเตทเม้นท์ และมีตราขององค์กรปรากฏในหน้าเอกสาร

การยื่น Electronic Bank Statement If you want to send electronic bank statements from an online account, these must contain all of the details listed above. You will also need to send a supporting letter from your bank, on headed paper, confirming that the statements are genuine. Alternatively, electronic bank statements with the official stamp of the bank that issued the statements will be accepted. The stamp must appear on every page of the statement. หากคุณต้องการยื่นบัญชีที่ดำเนินการผ่านออนไลน์หรือ Online Account บัญชีเหล่านั้นต้องมีข้อมูลดังกล่าวข้างต้น และคุณต้องยื่นจดหมายรับรองจากทางธนาคารรับรองบัญชีของคู่หมั้นคุณ ซึ่งจดหมายจากธนาคารต้องมีตราของธนาคารปรากฏอยู่ด้วยเพื่อยืนยันว่าธนาคารเป็นผู้ออกจดหมายนั้นอย่างแท้จริง อีกทางเลือกหนึ่งก็คือ สามารถยื่นบัญชีธนาคารแบบอิเล็กทรอนิกส์ที่มีตราประจำธนาคารปรากฏอยู่ก็ได้ และตราประทับนั้นต้องปรากฏทุกหน้า

Important:We will not accept statements that simply show the balance in the account on a particular day, as these documents do not show that there are consistent funds to meet the maintenance requirement.

1.การทำวีซ่ามาเที่ยวที่อังกฤษต้องไปทำขอวีซ่าที่ไหน ใช่ที่สถานทูตอังกฤษหรือเปล่า

ตอบไม่ใช่ นำใบคำร้องและเอกสารที่ยื่นประกอบไปยื่นที่ศูนย์รับคำร้องวีซ่ามายังสหราชอาณาจักร VFS ตั้งอยู่ที่ชั้น 2(ลอย) อาคารรีเจ้นท์เฮ้าส์ (ติดกับ AUA) ถ.ราชดำริ แขวงลุมพินี กรุงเทพฯ เท่านั้น

2. จะรู้ได้อย่างไรว่าต้องขอวีซ่าประเภทใด

ตอบวีซ่ามายังสหราชอาณาจักรมีหลายประเภทหลักและย่อย อย่างไรก็ดีผู้ที่กำลังจะยื่น ต้องพิจารณาวัตถุประสงค์และระยะเวลาในการมาพำนัก ให้ศึกษารายละเอียดของวีซ่าแต่ละประเภท แล้วสมัครตามประเภทของวีซ่านั้นๆ หากต้องการ

ดูรายละเอียดของวีซ่าแต่ละประเภท วีซ่าที่คนไทยมักขอได้แก่ วีซ่าท่องเที่ยว วีซ่าเยี่ยมครอบครัว วีซ่านักเรียน วีซ่าติดตามคู่สมรส วีซ่าแต่งงาน(คู่หมั้น) เป็นต้น

3. สามารถทำเรื่องการขอวีซ่าล่วงหน้าได้นานแค่ไหน และระยะเวลาในการพิจารณาวีซ่านานประมาณเท่าใด

ตอบ สามารถยื่นคำร้องล่วงหน้าได้ 3 เดือน ระยะเวลาในการพิจารณานั้นขึ้นอยู่กับประเภทของวีซ่าและหลักฐานที่คุณยื่นประกอบ โดยปรกติทางสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองแห่งสหราชอาณาจักรใช้เวลาในการรพิจาณาดังนี้ ซึ่ง Aphrodite เลือกมานำเสนอเฉพาะวีซ่าที่คนไทยขอกันมากเท่านั้น ดังนี้นะคะ

-วีซ่าท่องเที่ยว General Visit ใช้เวลา 2 – 15 วัน

-วีซ่าเยี่ยมญาติ Family visit ใช้เวลา 3 -15 วัน

หากเป็นวีซ่าประเภท Settlements (Spouse, Marriage, Unmarried Partner, Civil Partner) 60 – 120 วัน

วีซ่าแบบ Points Based System (PBS) เช่น นักเรียน 5 – 40 วัน

NEW 4. มีค่าธรรมเนียมในการขอวีซ่าคือเท่าไร ตอบค่าธรรมเนียมในการขอวีซ่าจะแตกต่างกันไปตามประเภทของวีซ่า

ซึ่ง Aphrodite เลือกมานำเสนอเฉพาะวีซ่าที่คนไทยขอกันมากเท่านั้น ดังนี้ค่ะ

-วีซ่าท่องเที่ยว General Visit, Child Visitor, Visitor Coming to get married (แบบ 6 เดือน) ค่าธรรมเนียม 3800 บาท

-วีซ่าเยี่ยมญาติ Family visit (แบบ 6 เดือน) ค่าธรรมเนียม 3800 บาท

หากเป็นวีซ่าประเภท Settlements (Spouse, Marriage, Unmarried Partner, Civil Partner) ค่าธรรมเนียม 40,500 บาท

 

 

A UK marriage visa, or spouse visa, enables your husband, wife or civil partner to apply for leave to enter, or leave to remain in the UK on the basis that they are ...

 

Uk Spouse Visa Married Visa วีซ่าสมรสหรือวีซ่าคู่หมั้นประเทศอังกฤษ

ข้อกำหนดในการสมัครวีซ่าอังกฤษสำหรับสามีและภรรยาที่ไม่ได้สมรส

เราจะเน้นในเรื่องวีซ่าแต่งงานนะคะ การขอวีซ่าเข้าประเทศอังกฤษโดยจุดประสงค์นี้มี 2 แบบ
1. วีซ่าคู่หมั้น
2. วีซ่าแต่งงาน

1. วีซ่าคู่หมั้น

วีซ่าคู่หมั้น คือ การขอวีซ่าเพื่อมาแต่งงานที่อังกฤษ ทางสถานทูตจะออกวีซ่าให้ 6 เดือนกับข้อบังคับการห้ามทำงาน หลังจากได้จดทะเบียนสมรส หรือเซ็นสัญญาในการอยู่ร่วมกัน (Civil Partnership) (Civil Partnership--สำหรับเพศเดียวกันนะคะ)จะสามารถยื่นเรื่องต่อวีซ่าได้อีก 2 ปี ถ้าการยื่นต่อวีซ่านี้ผ่าน ผู้ยื่นขอต่ออายุวีซ่านั้นจะมีสิทธิในการทำงานที่ประเทศอังกฤษ หลังจากวีซ่าที่ต่อไป 2 ปีนั้นใกล้หมดอายุ บุคคลนั้นสามารถที่จะยื่นเรื่องขอวีซ่าอย่างถาวร(resident)ได้ แต่อย่างไรก็ตามผู้ที่จะยื่นเรื่องขอนั้นจะต้องผ่านข้อทดสอบชีวิตในประเทศอังกฤษ (Life in the UK Test) เสียก่อน

สิ่งที่จำเป็นสำหรับการย้ายถิ่นฐานที่อังกฤษนั้นมีลักษณะใกล้เคียงกับกฎของคู่ที่จดทะเบียนสมรสกัน ทั้งสองฝ่ายควรที่จะไตร่ตรองให้ดีก่อนว่าจะจดทะเบียนก่อนที่จะยื่นเรื่องเพราะว่าถ้าได้รับวีซ่าคู่หมั้นจะต้องยื่นเรื่องขอวีซ่าคู่สมรสต่อไป

หลักเกณฑ์การขอวีซ่าคู่หมั้น
- มีการวางแผนที่จะจดทะเบียนสมรสกัน หรือการเซ็นสัญญาในการอยู่ร่วมกัน (Civil Partnership) เป็นเวลาที่เหมะสม (ภายในอายุวีซ่า 6 เดือน)
- มีการวางแผนที่จะใช้ชีวิตร่วมกันหลังจากจดทะเบียนหรือเซ็นสัญญาการอยู่ร่วมกัน (Civil Partnership)
- ได้เคยพบกันก่อนแล้ว
- มีที่พักอาศัยอยู่แล้วก่อนที่จะจดทะเบียนหรือเซ็นสัญญาการอยู่ร่วมกัน (Civil Partnership) โดยไม่ต้องกู้เงินรัฐ
- คู่ทั้งสองฝ่ายนั้นสามารถช่วยเหลือซึ้งกันโดยไม่ต้องมีความช่วยเหลือจากการกู้เงินรัฐ

2. วีซ่าแต่งงาน

วีซ่าแต่งงาน คือ การแต่งงานจากเมืองไทย และยื่นขอวีซ่าคู่สมรสไปจากเมืองไทย
การขอวีซ่าคู่สมรสขั้นต้นทางสถานทูตจะอนุมัติให้วีซ่าที่สามารถเข้าออกและทำงานเป็นเวลาสองปี หลังจากนั้นถ้าทั้งสองฝ่ายยังคงจดทะเบียนและอาศัยอยู่ด้วยกันอีกจะสามารถยื่นขอวีซ่าถาวรได้
โดยผู้ที่จะยื่นเรื่องขอนั้นจะต้องผ่านข้อทดสอบชีวิตในประเทศอังกฤษ (Life in the UK Test) เช่นกัน

มีข้อกำหนดดังนี้

- ทั้งสองฝ่ายได้จดทะเบียนสมรสหรือสัญญาในการอยู่ร่วมกัน (Civil Partnership) จริง
- คู่สมรสหรือคู่เซ็นสัญญาในการอยู่ร่วมกัน (Civil Partnership) ขณะนี่ได้พักอยู่ที่อังกฤษและมีประสงค์ที่จะอยู่ที่อังกฤษต่อไป
- ทั้งสองฝ่ายมรความตั้งใจที่จะใช้ชีวิตร่วมกันและจะอยู่ด้วยกันอย่างถาวร
- ทั้งสองฝ่ายได้เคยพบกันมาก่อน
- สามารถที่จะช่วยเหลือและดูแลตัวเองโดยไม่ต้องขอความช่วยเหลือจากรัฐ
- มีที่พักอาศัยตามเหมาะสมโดยไม่ไม่จำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือจากรัฐ
- คู่สมรสหรือคู่เซ็นสัญญาในการอยู่ร่วมกัน (Civil Partnership) ทั้งสองมีอายุมากกว่า 21 ปี

ท่านและสปอนเซอร์ของท่าน ต้องเคยได้พบเจอหน้ากันมาก่อนแล้วตัวท่าน และสปอนเซอร์ของท่าน จะต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 21ปีบริบูรณ์ตัวท่าน และสปอนเซอร์ของท่าน จะต้องมีความสัมพันธ์ ในลักษณะคู่สมรส เป็นเวลาอย่างน้อย 2 ปีสปอนเซอร์ของท่าน ได้ตั้งรกรากอยู่ในประเทศอังกฤษ (สหราชอาณาจักร) และท่านทั้งสอง ตั้งใจที่จะอาศัยอยู่ร่วมกันอย่างถาวร ในประเทศอังกฤษ (สหราชอาณาจักร)ท่านจะต้องสามารถ พิสูจน์ให้ได้ว่า ท่านจะสามารถรับผิดชอบค่าใช้จ่าย ของตัวท่านเอง หรือบุตรของ ท่านเมื่อเดินทางเข้าไปอยู่ในประเทศอังกฤษแล้ว โดยไม่ต้องพึ่งความช่วยเหลือจากเงินกองทุน ของรัฐฯท่านจะต้องแสดงหลักฐานว่า ตัวท่านเอง และบุตรของท่าน จะมีที่พักอาศัย เมื่อได้เดินทางเข้าไปอยู่ในประเทศอังกฤษแล้วหากท่าน หรือคู่ของท่าน ผ่านการสมรสตามกฎหมาย หรือแต่งงานมาแล้ว ความสัมพันธ์ครั้งก่อนจะต้องจบลง ก่อนการยื่นขอวีซ่าดังกล่าว

หากมีปัญหาในด้านการหย่าร้าง คุณจะได้รับการคุ้มครองจากกฎหมายในสหราชอาณาจักรมากกว่า เช่น หากจดทะเบียนสมรสที่เมืองไทยเมื่อต้องการหย่าร้าง คู่สมรสของคุณจะสามารถทำเรื่องหย่าโดยไปจดทะเบียนหย่าที่สถานทูตไทย และทะเบียนหย่าก็จะมีผลทันที เป็นเหตุให้สถานภาพของคุณที่อาศัยในสหราชอาณาจักรในฐานะคู่สมรสสิ้นสุดลงทันที ต้องกลับประเทศ แต่หากจดทะเบียนสมรสที่สหราชอาณาจักร การหย่าร้างต้องให้ศาลสั่งเท่านั้น และใช้ระยะเวลานานเป็นปี ดังนั้นก็จะได้รับสิทธ์ในการพำนักในสหราชอาณาจักรอย่างถูกกฎหมาย

2. หากจดทะเบียนสมรสที่สหราชอาณาจักร คุณก็ไม่ต้องแปลทะเบียนสมรสจากภาษาอังกฤษเมื่อนำไปใช้เป็นหลักฐานการทำธุรกรรมต่างๆ ในสหราชอาณาจักร โดยเฉพาะเมื่อต้องการขอ NI Number, NHS, เปิดบัญชีธนาคาร หรือแม้กระทั่งการขอวีซ่าเชงเก้นหรือวีซ่าประเทศอื่นๆ เป็นต้น

ในทางกลับกัน หากต้องใช้ทะเบียนสมรสในการทำธุรกรรมที่เมืองไทย ก็ต้องนำไปแปลจากภาษาอังกฤษให้เป็นภาษาไทยแล้วให้สถานทูตไทยในสหราชอาณาจักรรับรองเอกสารก่อนนำไปใช้ ซึ่งไม่เห็นเป็นข้อใหญ่ หากคุณย้ายไปใช้ชีวิตที่สหราชอาณาจักร

เห็นได้ชัดว่า การขอวีซ่าติดตามคู่สมรสหรือ Spouse Visa นั้นมีข้อได้เปรียบในเรื่องการประหยัดค่าใช้จ่ายและไม่ต้องยุ่งวุ่นวายกับการทำเรื่องขออยู่ต่ออีก 2 ปี (Extend your stay)ที่อังกฤษเมื่อมาถึง นอกจากนั้นยังสามารถหางานทำได้ทันที แต่ผู้ที่จะขอวีซ่านี้ได้นั้น คุณต้อง

1. จดทะเบียนสมรสที่เมืองไทย ดังนั้นหากแฟนของคุณอยู่ที่เมืองไทยกับคุณแล้ว วีซ่านี้เป็นทางเลือกที่ดีเป็นอย่างยิ่ง แต่หากแฟนอยู่ต่างประเทศ ก็อาจต้องเสียค่าเครื่องบินเพื่อไปจดทะเบียนที่เมืองไทย ซึ่งก็ถือเป็นเรื่องดีเพราะบางท่านก็จัดงานแต่งงานที่เมืองไทยไปเลย

2. นอกจากคู่สมรสหรือผู้ที่จดทะเบียนสมรสกันเท่านั้นที่ขอได้ แต่ผู้ที่อยู่อาศัยแบบคู่ชีวิต Partner เช่น อยู่ด้วยกันฉันท์สามีภรรยา หรือมีลูกด้วยกันแม้จะยังไม่ได้จดทะเบียนสมรส คุณก็สามารถขอวีซ่านี้ได้เช่นกัน

3. เมื่อจดทะเบียนสมรสแล้ว ให้นำทะเบียนสมรสไปแปลจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ และนำไปให้สถานทูตอังกฤษประทับตรารับรองก่อนนำมาใช้ที่สหราชอาณาจักร

4. จะดีมากหากที Pre-Nuptial เพื่อป้องกันความคุ้มครองสิทธิ์ทางกฎหมายของคุณ

ข้อสังเกต

1. การจดทะเบียนสมรส ไม่ว่าจะเป็นที่เมืองไทยหรือที่สหราชอาณาจักร ก็มีกระบวนการที่ยุ่งยากแตกต่างกันท่านที่จดทะเบียนสมรสที่อังกฤษก็จะต้องเข้า-ออกสถานทูตอังกฤษเพื่อขอเอกสารรับรองว่าแฟนสามารถแต่งงานได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย และต้องนำทะเบียนสมรสไปแปลจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ แล้วก็ต้องนำไปให้สถานทูตรับรอง

2. ในเรื่องการแปลทะเบียนสมรส ไม่ว่าจะจดทะเบียนที่ไหน หากต้องการใช้ในประเทศที่ไม่ได้จดทะเบียน ก็ต้องได้รับการแปลและต้องได้รับการรับรองจากสถานทูตอยู่ดี อย่างเช่น หากต้องการใช้ในการขอรับสิทธิ์ต่างๆ ในอังกฤษและต้องการขอวีซ่าไปประเทศต่างๆ หากทะเบียนสมรสเป็นภาษาไทย แต่ทำเรื่องที่สหราชอาณาจักรหรือต่างประเทศ ทะเบียนสมรสนั้นก็ต้องได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษก่อน ในทางกลับกัน หากต้องการทำธุรกรรมในเมืองไทย เช่น ซื้อที่ดิน เป็นต้น ทะเบียนสมรสนั้นก็ต้องได้รับการแปลจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยก่อน

3. หากขอวีซ่าติดตามคู่สมรส คุณควรมั่นใจว่า วันที่คุณเดินทางไปยังสหราชอาณาจักรนั้น วันที่คุณไปถึงจนถึงวันที่วีซ่าหมดอายุนั้นมีระยะเวลารวมกันมากกว่าหรือเท่ากับ 2 ปี เพื่อหลีกเลี่ยงการปัญหาการอาศัยในอังกฤษไม่ถึง 2 ปี แล้วจะไม่สามารถขอวีซ่าถาวรได้ เพราะหากเป็นอย่างนั้น คุณจะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการขอ FRM เพื่อให้อยู่ต่อให้ครบ 2 ปี ก่อนมีสิทธิ์ขอวีซ่าถาวร

4. หากจดทะเบียนสมรสที่เมืองไทยเมื่อต้องการหย่าร้าง คู่สมรสของคุณจะสามารถทำเรื่องหย่าโดยไปจดทะเบียนหย่าที่สถานทูตไทย และทะเบียนหย่าก็จะมีผลทันที เป็นเหตุให้สถานภาพของคุณที่อาศัยในสหราชอาณาจักรในฐานะคู่สมรสสิ้นสุดลงทันที ต้องกลับประเทศ แต่หากจดทะเบียนสมรสที่สหราชอาณาจักร การหย่าร้างต้องให้ศาลสั่งเท่านั้น และใช้ระยะเวลานานเป็นปี ดังนั้นก็จะได้รับสิทธ์ในการพำนักในสหราชอาณาจักรอย่างถูกกฎหมาย

 

การจดทะเบียนสมรสที่ไหนขี้นอยู่กับความสะดวกของคุณทั้งสอง แต่ถ้าแฟนคุณจะมาเมืองไทยอยู่แล้วจดที่ไทยก็สะดวกกว่าในหลายๆด้าน ที่สำคัญกฎหมายการคุ้มครองสิทธิประโยชน์เท่าเทียมกัน ยกเว้นตอนหย่า อย่างไรก็ดีหากมีลูก ในกรณีที่มีการหย่าลูกจะเป็นตัวช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของคุณมากขึ้น อย่างไรก็ดี หากต้องการอาศัยในอังกฤษ ไม่ควรจดทะเบียนที่สถานทูต เพราะทะเบียนสมรสจะไม่สามารถนำไปใช้ได้ตามกฎหมายของอังกฤษ

 

เรายินดีให้คำปรึกษา เรื่องของวีซ่า และคุณจะพบกับความสำเร็จ และ สมหวัง ในเรื่องของวีซ่าของท่าน เรายืนยันและรับรองผลให้กับท่าน ที่มีความประสงค์จะยื่น ขอวีซ่า เพื่อจะเดินทางไปต่างประเทศ สำหรับท่านที่ยังไม่เข้าใจในหลักการ และวิธีการเตรียมตัวเรื่องเอกสารที่จะต้องใช้ยื่น ขอวีซ่า ซึ่งเราผู้มีประสบการณ์ และ มีความเชียวชาญ ด้านเอกสาร เราให้บริการท่านได้

*บริการยื่นวีซ่าทุกประเทศ อเมริกา แคนนาดา อังกฤษ ไอแลนด์ และ ทุกประเทศในยุโรป ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น และ ประเทศอื่นๆ

*  บริการ รับจดทะเบียนสมรส กับ ชาวต่างชาติ และ คนไทย

* วีซ่า คู่หมั่น สำหรับท่านที่มีความประสงค์ ที่จะไปจดทะเบียนต่างประเทศ

*  วีซ่า แต่งงาน สำหรับท่านที่แต่งงานและมีความประสงค์ทีจะขอวีซ่า ถาวร ไปอยู่ต่างประเทศ และ มีความประสงค์ จะจดทะเบียนสมรส ทั้งในประเทศ ไทย และ ต่างประเทศ อย่างถูกต้องตามกฎหมายของประเทศ นั้นๆ

*  สำหรับผู้มีปัญหาวีซ่า ทุกชนิด เช่น อยู่เกินกำหนดของวีซ่าแต่ละประเทศ, โดนเนรเทศ โดนส่งกลับ และ ที่โดนปฎิเสธวีซ่า ทุกประเทศ ปัญหาเกี่ยวกับเรื่อง คดีทางกฎหมาย ทั้งใน และ ต่างประเทศ

*  สำหรับท่านที่มีผู้รับรองที่เป็นชาวต่างชาติ หรือ คนไทย

*  ไม่ต้องยุ่งยากในการเตรียมเอกสาร อีกต่อไป

*  ไม่ต้องเดินทางมา กรุงเทพฯ

*  ไม่ต้องเป็นผู้เก่งภาษา อังกฤษ

*  ไม่ต้องมีทรัพย์สิน หรือ บัญชี ธนาคารของตัว โชว์ อีกต่อไป

*  ไม่ต้องมีใบรับรองการทำงาน

*  ไม่ต้องเสียเวลาในการสัมภาษณ์

ถ้าคุณต้องการเดินทางไปท่องเที่ยว ต่างประเทศ และคุณทราบหรือไม่ว่า คุณต้องขอวีซ่า เพื่อเข้าประเทศ นั้นๆ ดังนั้น เรามาทำความรู้จักกันก่อนว่า วีซ่า คืออะไร และทำไม เราต้องขอวีซ่า แบบเข้าใจง่ายๆ วีซ่า คือ เอกสารสำคัญ ที่เปรียบเสมือนใบอนุญาตให้ท่าน เดินทาง ผ่าน เข้า และ ออก ยังประเทศนั้นๆ ซึ่งตัววีซ่า จะถูกประทับ ลงในหนังสือ เดินทาง (passport) ของท่าน ซึ่งเป็นการ ยื่นยัน และ อนุญาต ให้ท่านสามารถเขาไปยัง ประเทศ นั้นๆ ได้ และมีกี่ประเทศที่ท่านต้อง มีการยื่นขอวีซ่า เช่น ประเทศ อังกฤษ ประเทศ อเมริกา ประเทศ ออสเตรเลีย และกลุ่มประเทศ ยุโรป ประเภทของวีซ่า มีด้วยกัน 5 ประเภทดังนี้

วีซ่าท่องเที่ยว คือ การที่ท่านมีความประสงค์ จะเดินทางไปต่างประเทศเพื่อ เที่ยวชม สถานที่ ประเพณี อารยธรรม และสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ของประเทศนั้นๆ รวมถึง เยี่ยมญาติ เยี่ยมแฟน ซึ่งวีซ่า ประเภทนี้จะมีอายุในการพักหรือท่องเที่ยวไป ตั้งแต่ 3 เดือน หรือ 6 เดือน และเมื่อครบกำหนด วีซ่า ท่านจะต้อง เดินทางกลับมายังประเทศ ไทย ตามวันที่วีซ่า กำหนด มิฉะนั้น จะถือว่าท่าน อยู่เกิน กำหนด ซึ่งจะเป็นปัญหาต่อวีซ่าของท่าน

วีซ่าคู่หมั่น คือ ผู้ที่มีแฟนเป็นชาวต่างชาติ ที่ถือ สัญชาติ ของประเทศนั้นๆ ซึ่งมีแผนที่จะแต่งงานกัน และมีความประสงค์ ที่จะเดินทางไปยังประเทศ ที่แฟน พำนักอาศัยอยู่นั้น ท่านสามารถเลือก ขอวีซ่า ประเภท คู่หมั่นได้ โดยใช้สิทธิ ในการขอเพื่อไป จดทะเบียนสมรส กับ ชาวต่างชาติ ซึ่งสิทธิ ของ